วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

End of Month Review - July

สรุปภาพรวมของบล็อก ASEAN CORNER สำหรับเดือนกรกฎาคม ซึ่งทำสถิติยอดเข้าชมสูงสุดใหม่อีกครั้ง  โดยมียอดเข้าชมรวมทั้งสิ้น 298,069 ครั้ง เพิ่มขึ้นจากเดือนมิถุนายนกว่า 100,000 ครั้ง โดยในวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 มียอดเข้าชมสูงสุดของเดือนจำนวน 12,698 ครั้ง  

สำหรับ 5 อันดับบทความที่มีผู้เข้าชมสูงสุดตลอดเดือนกรกฎาคม ได้แก่
1. National Costumes of ASEAN Member States
2. ASEAN Currency
3. National Dishes of ASEAN
4. The National Flag of Malaysia
5. The National Flag of Vietnam

ข้อสังเกตที่น่าสนใจคือ ตลอดเดือนกรกฎาคม คำค้นหลักๆ ที่นำมาสู่บล็อก ASEAN CORNER คือ การค้นหาคำถามภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาเซียน ซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากการจัดงานอาเซียนสัญจร 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร ของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีการจัดแข่งขัน ASEAN Quiz สำหรับนักเรียนระดับมัธยมปลายขึ้นด้วย บล็อก AC ก็รู้สึกดีใจที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน แก่นักเรียนและครูไทย ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ
ในส่วนของ ASEAN CORNER Facebook Page http://www.facebook.com/pages/Asean-Corner-by-Kru-Ekachai/312357898783375, เว็บไซต์ Scribd ซึ่งให้บริการดาวน์โหลดเอกสารประกอบการเรียนอาเซียน  http://www.scribd.com/ephaichamnan และ คลังคำถามอาเซียนออนไลน์ https://sites.google.com/site/aseancorner2011/asean-corner  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ The ASEAN Corner Project by Kru Ekachai  ก็ได้รับความสนใจและมีกระแสตอบรับจากผู้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับอาเซียนอย่างดียิ่ง โดยเฉพาะครู นักเรียนและนักศึกษาซึ่งได้ใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน และประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในชั้นเรียน ตรงกับเป้าประสงค์ของการดำเนินกิจกรรมของบล็อก AC ทุกประการ

แล้วกลับมาพบกับสาระความรู้ ข้อมูลและข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียนในรูปแบบสองภาษาที่เป็นปัจจุบัน ผ่านทุกช่องทางของ The ASEAN Corner Project ตลอดเดือนสิงหาคมครับ

Kru Ekachai

วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Vocabulary Revision - July


budget (n.) a plan of how to spend an amount of money over a particular period of time   งบประมาณ

charter (n.a written statement of the rights, beliefs and purposes of an organization  กฏบัตร

dispute (n.a disagreement or argument between two people, groups or countries  ความขัดแย้ง

framework (n.a system of rules, ideas or beliefs that is used to plan or decide something.   กรอบ, กรอบการทำงาน

foundation (n.an underlying basis or principle  พื้นฐาน(ของความคิดหรือทฤษฎี)

henceforth (adv.from now on  จากนี้ไป

norm (n.a situation or way of behaving that is usual or expected   บรรทัดฐาน

pursuant (adv.in accordance with  สอดคล้องกับ

target (n.a result that you try to achieve  จุดมุ่งหมาย, เป้าประสงค์

values (n.) principles or standards of behaviour ค่านิยม

References : 
Oxford Wordpower Dictionary
Cambridge Dictionary

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ASEAN QUIZ ตอบปัญหาอาเซียนชุดที่ 11

ASEAN Corner offers ASEAN Quiz 11 for you to tease your brain and pits your wits against the ASEAN Charter. Go ahead and find out how much you know about the Constitution of ASEAN. Best of luck!
ASEAN Quiz 11

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ASEAN Sectoral Ministerial Bodies - องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา


ASEAN Political-Security Community
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
1. ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM)
     ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน
2. Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone
    (SEANWFZ Commission)
     คณะกรรมการเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3. ASEAN Defence Ministers Meeting (ADMM)
     ที่ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน
4. ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM)
     ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านกฎหมาย
5. ASEAN Ministerial Meeting on Transitional Crime (AMMTC)
       ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ
6. ASEAN Regional Forum (ARF)
       ที่ประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

ASEAN Economic Community
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. ASEAN Economic Ministers Meeting (AEM)
      ที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน
2. ASEAN Free Trade Area (AFTA) Council
    คณะกรรมการเขตการค้าเสรีอาเซียน
3. ASEAN Investment Area (AIA) Council
     คณะกรรมาธิการเขตการลงทุนอาเซียน
4. ASEAN Finance Ministers Meeting (AFMM)
     ที่ประชุมรัฐมนตรีด้านการคลังอาเซียน
5. ASEAN Ministers Meeeting on Agriculture and Forestry
    (AMAF) ที่ประชุมรัฐมนตรีด้านการเกษตรและป่าไม้อาเซียน
6. ASEAN Ministers on Energy Meeting (AMEM)
     ที่ประชุมรัฐมนตรีด้านพลังงานอาเซียน
7. ASEAN Ministerial Meeting on Minerals (AMMin)
      ที่ประชุมรัฐมนตรีด้านแร่ธาตุอาเซียน
8. ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology (AMMST)
    ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
To be continued.......




     




วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Word Power - เพิ่มความรู้ด้านศัพท์กับกฎบัตรอาเซียน

มาร่วมเรียนรู้และเพิ่มพูนคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ปรากฏอยู่ในกฎบัตรอาเซียนกับ Vocabulary Quizzes จากบล็อก ASEAN CORNER กันครับ


Vocabulary Quiz 2                                               

Vocabulary Quiz 4                                                
Vocabulary Quiz 5


Vocabulary Quiz 6                                               

Vocabulary Quiz 8                                                

วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

The ASEAN Charter - กฎบัตรอาเซียน


ASEAN Charter
The ASEAN Charter serves as a firm foundation in achieving the ASEAN Community by providing legal status and institutional framework for ASEAN. It also codifies ASEAN norms, rules and values; sets clear targets for ASEAN; and presents accountability and compliance.

The ASEAN Charter entered into force on 15 December 2008. A gathering of the ASEAN Foreign Ministers was held at the ASEAN Secretariat in Jakarta to mark this very historic occasion for ASEAN.

With the entry into force of the ASEAN Charter, ASEAN will henceforth operate under a new legal framework and establish a number of new organs to boost its community-building process. 

In effect, the ASEAN Charter has become a legally binding agreement among the 10 ASEAN Member States. It will also be registered with the Secretariat of the United Nations, pursuant to Article 102, Paragraph 1 of the Charter of the United Nations.
 กฎบัตรอาเชียน
กฎบัตรอาเซียน เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดยนอกจากจะประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้น พร้อมกำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรที่สำคัญในอาเชียนตลอดจนความสัมพันธ์ในการดำเนินงานขององค์กรเหล่านี้ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนให้สามารถดำเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2558 ตามที่ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันไว้
ทั้งนี้ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตั้งอาเซียน แสดงให้เห็นว่าอาเซียนกำลังแสดงให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงความก้าวหน้าของอาเซียนที่กำลังจะก้าวเดินไปด้วยกันอย่างมั่นใจระหว่างประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั้ง 10 ประเทศ และถือเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็นองค์กรที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลในฐานะที่เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทั้ง 10 ประเทศแล้วเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน2551 กฎบัตรอาเซียนจึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็นต้นไป
วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน
วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน คือ ทำให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิกาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และเคารพกฎกติกาในการทำงานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนจะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (intergovernmental organization)
โครงสร้างและสาระสำคัญของกฎบัตรอาเซียน
กฏบัตรอาเชียน ประกอบด้วยบทบัญญัติ 13 หมวด 55 ข้อ ได้แก่
หมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลักการของอาเซียน
Chapter 1 Purposes and Principles
หมวดที่ 2 สภาพบุคคลตามกฏหมายของอาเชียน
Chapter 2 Legal Personality
หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ (รัฐสมาชิก สิทธิและพันธกรณีของรัฐสมาชิก และการรับสมาชิกใหม่)
Chapter 3 Membership
หมวดที่ 4 โครงสร้างองค์กรของอาเซียน
Chapter 4 Organs
หมวดที่ 5 องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน
Chapter 5 Entities Associated With ASEAN
หมวดที่ 6 การคุ้มกันและเอกสิทธิ์
Chapter 6 Immunities and Privileges
หมวดที่ 7 กระบวนการตัดสินใจ
Chapter 7 Decision-Making
หมวดที่ 8 การระงับข้อพิพาท
Chapter 8 Settlement of Disputes
หมวดที่ 9 งบประมาณและการเงิน
Chapter 9 Budget and Finance
หมวดที่ 10 การบริหารและขั้นตอนการดำเนินงาน
Chapter 10 Administration and Procedure
หมวดที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์
Chapter 11 Identity and Symbols
หมวดที่ 12 ความสัมพันธ์กับภายนอก
Chapter 12 External Relations
หมวดที่ 13 บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย
Chapter 13 General and Final Provisions

References :
"ASEAN Charter." (Online). Available : http://www.aseansec.org/21861.htm  Retrieved 14 July 2012.
"กฎบัตรอาเซียน." (Online). Available : http://www.thai-aec.com/asean-charter Retrieved 14 July 2012.

วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Message From Kru Ekachai - July

English as the Lingua Franca of the ASEAN Community 2015
It’s just around the corner! Is Thailand ready?

The long-awaited economic integration, the ASEAN Economic Community (AEC), of 10 member states of ASEAN will commence in a few years. According to Article 34, The Charter reaffirms that English is the working language of ASEAN. In a nutshell, English will be used as means of communication among 600 million people of different linguistic backgrounds across the ASEAN region. Are we ready to become one economic zone and embrace English as an official language?

It is a sad but true story that most Thais still don’t know much about ASEAN. Moreover, the inadequate English proficiency of our people is a big problem that needs to be tackled immediately. We have to admit that the Thai people, in terms of English, are not as good as countries like Singapore, the Philippines or Malaysia. Students could not pick up the basic language skills despite going through 12 years, more or less, of classroom learning. Many graduates enter the work force unable to communicate at even a basic level. At worst, the majority of Thai teachers of English are not able to conduct lessons in English language.

The method of English teaching in Thailand needs to be revamped. As far as we know, students spend many years studying English grammar but neglect communication skills. The problem resulted from focusing on grammar rules and reading skills  in teacher-centred classrooms because Thai education system is the overemphasis on exam scores.To boost communicative skills , Thailand’s Education Ministry has decreed 2012 as English Speaking Year in all schools. The project requires students and school practitioners to speak the language at least one day a week. Can this project accomplish? Only time will tell!

As a dedicated English teacher, I’ve put my heart and soul into this blog to pave the way towards the ASEAN Community for our young generations since its debut. The uniqueness of ASEAN CORNER is the integration between the knowledge of ASEAN and the learning of the English language. Frankly, it’s a time consuming task to gather information from sources and to create various kinds of quizzes month after month. But it really dawns on me that what I have done is beneficial to those who seek the knowledge of ASEAN and want to master the English language skills.

In closing, the government should think of ways to raise the English language awareness among the general public and put preparing English for the AEC on the national agenda. Moreover, English must be taught through the use of English at an early age of the students. The Ministry of Education should find more trained and qualified Thai teachers with English communication skills. It's high time to produce our own human resources and then let them teach at schools across the country. I think it's great to stand on our own legs. Last but not least, all sectors of the Thai society - including government, private sectors, educational institutions, and media - must work hand in hand to encourage Thai people to speak more English in their daily life.

Thank you for your time and interest,

Kru Ekachai