วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

End-of-Month Review

สรุปสถิติการเข้าเยี่ยมชมบล็อก ASEAN CORNER เดือนมีนาคม 2557 เดือนนี้มีการเข้าเยี่ยมชมบทความต่างๆ ของบล็อกจำนวนทั้งสิ้น 36,583 ครั้ง โดยมีการเข้าชมบล็อกสูงสุดเมื่อวันที่ 5 มีนาคม จำนวน 2,453 ครั้ง 


5 อันดับบทความที่มีผู้เข้าชมสูงสุดเดือนมีนาคม 2557

1. ASEAN Currency

2. National Costumes of ASEAN Member States

3. National Dishes of ASEAN

4. National Flowers of 10 ASEAN Countries

5. ASEAN Motto




วันอาทิตย์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2557

Good Books of Southeast Asia # 3:แนะนำหนังสือน่าอ่านเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

The Voice of Hope
Aung San Suu Kyi
Conversations with Alan Clements



หนังสือเกี่ยวกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เล่มที่สาม ที่ทางบล็อก ASEAN CORNER ขอแนะนำ สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องราวทางการเมืองของประเทศเมียนมาร์

หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานของ Alan Clements นักข่าวชาวอเมริกันที่ได้บวชเป็นพระในเมียนมาร์มาแล้ว ซึ่งได้รวบรวมบทสัมภาษณ์ นางออง ซาน ซูจี นักรณรงค์ผู้นิยมประชาธิปไตยและผู้นำพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (National League for Democracy:NLD) ของประเทศเมียนมาร์

วันเสาร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2557

ASEAN Economic Facts and Trivia:เกร็ดความรู้เศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียน


Indonesia has the largest economy in Southeast Asia and is the only Southeast Asian member of G 20.

อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศเดียวจากอาเซียนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม G 20



Singapore was named the top country to do business in by the World Bank.

ธนาคารโลกจัดอันดับให้สิงคโปร์เป็นประเทศที่น่าลงทุนทำธุรกิจที่สุดในโลกเป็นสมัยที่ 8 ติดต่อกัน


Singapore has been named the most expensive city in the world, according to a cost of living survey from the Economist Intelligence Unit (EIU)

สิงคโปร์คือเมืองที่มีค่าครองชีพแพงที่สุดในโลกปี 2014 จากการจัดอันดับโดย the Economist Intelligence Unit (EIU) แซงหน้ากรุงโตเกียวของประเทศญี่ปุ่น



Brunei Darussalam has no Central Bank.

บรูไนไม่มีธนาคารกลาง



Vietnam was ranked number-two as the world's largest rice supplier.

เวียดนามเป็นผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับสองของโลกรองจากประเทศอินเดีย

วันศุกร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557

Economy of Vietnam:เศรษฐกิจและการค้าของประเทศเวียดนาม

Fast Fact about Vietnam's Economy


Monetary unit
สกุลเงิน


Vietnamese dong (VND)


Fiscal year
ปีงบประมาณ

Calendar year

GDP - per capita
รายได้ประชากรต่อหัว


$ 4,000 (2013 est.)
(ประมาณ 129,300 บาท)



Agriculture – products
สินค้าเกษตร

paddy rice, coffee, tea, pepper, soy beans, cashews, sugar cane, peanuts, bananas, poultry, fish, sea food




Main industries
อุตสาหกรรมหลัก


food processing, garments, machine-building, mining, coal, steel, cement, glass, tires, oil, mobile phone


Main export products
สินค้าส่งออกสำคัญ


clothes, shoes, electronics, seafood, crude oil, rice, wooden products, machinery



Main export
partners
ประเทศคู่ค้าส่งออกสำคัญ


US, Japan, China, South Korea, Malaysia




Main import products
สินค้านำเข้าสำคัญ


machinery and equipment, petroleum products, steel products, electronics, plastics, automobiles


Main import
partners
ประเทศคู่ค้านำเข้าสำคัญ


China, South Korea, Japan, Singapore, Thailand, US

วันพุธที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2557

Economy of Singapore:เศรษฐกิจและการค้าของประเทศสิงคโปร์

Fast Fact about Singapore's Economy


Monetary unit
สกุลเงิน


Singapore dollar (SGD)


Fiscal year
ปีงบประมาณ


1 April - 30 March

GDP - per capita
รายได้ประชากรต่อหัว


$ 62,100 (2012 est.)
(ประมาณ 1,993,340 บาท)




Main industries
อุตสาหกรรมหลัก


electronics, chemicals, financial services,       oil drilling equipment, petroleum refining, rubber processing and rubber products



Main export products
สินค้าส่งออกสำคัญ



machinery and equipment, pharmaceutical, refined petroleum products



Main export
Partners
ประเทศคู่ค้าส่งออกสำคัญ



Malaysia, Hong Kong, China, Indonesia



Main import products
สินค้านำเข้าสำคัญ



machinery and equipment, chemicals, foodstuffs, consumer goods


Main import
partners
ประเทศคู่ค้านำเข้าสำคัญ



Malaysia, China, United States

วันอังคารที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2557

Economy of the Philippines:เศรษฐกิจและการค้าของประเทศฟิลิปปินส์

Fast Fact about the Philippines' Economy


Monetary unit
สกุลเงิน


Philippine peso (PHP)


Fiscal year
ปีงบประมาณ


Calendar year

GDP - per capita
รายได้ประชากรต่อหัว


$ 4,430 (2012 est.)
(ประมาณ 142,198 บาท)



Main industries
อุตสาหกรรมหลัก


electronics, garments, footwear,  pharmaceu –tical, wood products, fishing




Main export products
สินค้าส่งออกสำคัญ



semiconductor and electronic products, transport equipment, garments, copper products, coconut oil, fruit



Main export
partners
ประเทศคู่ค้าส่งออกสำคัญ



Japan, United States, China, Hong Kong, South Korea, Thailand




Main import products
สินค้านำเข้าสำคัญ



electronic products, iron and steel, textile fabrics, grains



Main import
partners
ประเทศคู่ค้านำเข้าสำคัญ



United States, China, Japan, South Korea, Singapore, Thailand

วันจันทร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2557

Economy of Myanmar:เศรษฐกิจและการค้าของประเทศเมียนมาร์

Fast Fact about Myanmar's Economy


Monetary unit
สกุลเงิน


Myanmar kyat (MMK)



Fiscal year
ปีงบประมาณ



1 April – 31 March

GDP - per capita
รายได้ประชากรต่อหัว


$ 1,300 (2011 est.)
(ประมาณ 42,000 บาท)



  
Main industries
อุตสาหกรรมหลัก


agricultural processing;wood and wood products; copper, tin, tungsten, iron; cement; petroleum and natural gas, garments, jade and gems


Main export products
สินค้าส่งออกสำคัญ



natural gas, wood products, fish, rice, clothing, jade and gems



Main export
partners
ประเทศคู่ค้าส่งออกสำคัญ


Thailand, India, China, Japan



Main import products
สินค้านำเข้าสำคัญ


fabric, petroleum products, plastics, fertilizer, machinery, food products


Main import
partners
ประเทศคู่ค้านำเข้าสำคัญ


China, Thailand, Singapore, South Korea, Japan, Malaysia

วันศุกร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557

A Message from ASEAN CORNER

สวัสดีผู้อ่านบล็อกและแฟนเพจ ASEAN CORNER

ตอนนี้เข้าสู่กลางเดือนมีนาคมกันแล้ว รู้สึกว่าเวลาช่างผ่านไปอย่างรวดเร็ว โรงเรียนหลายๆ แห่งก็เริ่มทยอยสอบ หรือบางแห่งก็เสร็จสิ้นการสอบปลายปีการศึกษาแล้ว โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่กำลังจะก้าวเข้าสู่รั้วอุดมศึกษา ก็จะมีเวลาว่างกว่า 6 เดือนก่อนที่มหาวิทยาลัยจะเปิดภาคเรียนที่ 1 ประมาณเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นการเลื่อนออกไป เพื่อให้สอดคล้องกับประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศในภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก


สำหรับนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานนั้นกระทรวงศึกษาธิการยืนยันแล้วว่าไม่เลื่อนการเปิด-ปิดภาคเรียน โดยในปีการศึกษา 2557 ยังคงมีการเปิด-ปิดภาคเรียนตามกำหนดเดิมคือ 

- ภาคเรียนที่ 1 วันเปิดภาคเรียน 16 พฤษภาคม และปิดภาคเรียน 11 ตุลาคม

- ภาคเรียนที่ 2 วันเปิดภาคเรียน 1 พฤศจิกายน และปิดภาคเรียน 1 เมษายน

จากข้อมูลข้างต้น คงช่วยคลายความสงสัยให้แก่นักเรียน ครูและผู้ปกครองได้เป็นอย่างดี

สำหรับบล็อก ASEAN CORNER เดือนนี้ยังคงนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเช่นเดิม โดยเป็นเรื่องราวของเศรษฐกิจและการค้าของอีก 5 ประเทศ ได้แก่ เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทยและเวียดนาม


นอกจากนี้ก็จะมีคำถาม ASEAN QUIZ มาให้ได้ฝึกทักษะภาษาอังกฤษและเพิ่มพูนความรอบรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเช่นเคย รวมไปถึงการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษจากบทความของบล็อก และแนะนำหนังสือน่าอ่านเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ขอบคุณสำหรับการติดตาม


Kru Ekachai