ความสัมพันธ์อาเซียน-จีนเริ่มเมื่อปี 2534 โดยมีการจัดประชุมสุดยอดอาเซียน-จีนสมัยพิเศษ ที่นครหนานหนิง
เพื่อฉลองการครบรอบ 15 ปีของความสัมพันธ์อาเซียน-จีนในปี 2549
ผู้นำอาเซียนและจีนได้ลงนามแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยการจัดประชุมสุดยอดอาเซียน-จีนสมัยพิเศษ
ซึ่งเป็นการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนใน 15
ปีข้างหน้า
จีนเป็นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกที่ริเริ่มการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
โดยได้ลงนามใน ASEAN-China Framework Agreement on
Economic Cooperation ในปี 2545
ซึ่งวางเป้าหมายให้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีนกับประเทศสมาชิกอาเซียนเก่า(6ประเทศ)
ให้แล้วเสร็จภายในปี 2553 และประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่
(4ประเทศ)ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
อาเซียนและจีนมีความร่วมมือใน 11
สาขาหลักได้แก่ เกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลงทุน
การพัฒนาลุ่มน้ำโขง การคมนาคมขนส่ง พลังงาน วัฒนธรรม สาธารณสุข การท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อม
ซึ่งมีส่วนสำคัญในการช่วยลดช่องว่างด้านการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
ASEAN-China. China became a Dialogue
Partner of ASEAN in 1996 after a consultative relationship which began in 1992. The year 2006 was of special
significance for China-ASEAN relations. ASEAN-China Commemorative Summit was
held in Nanning in October to celebrate the 15th anniversary of ASEAN-China dialogue
relations.
China signed its FTA with ASEAN in
2004 in Phnom Penh, Cambodia and has since emerged as the Southeast Asian countries' largest trading
partner. The ASEAN–China Free Trade Area is
the largest free trade area in terms of population and third largest in terms
of nominal GDP.
ASEAN and China had agreed to
cooperate on eleven priority areas of cooperation, namely agriculture,
information and communication technology, human resource development, Mekong
Basin Development, investment, energy, transport, culture, public health,
tourism and environment.
References:
October 2012.
"ASEAN-China FTA." (Online). Available:http://www.business-in-asia.com/asia/china_fta.html Retrieved 12 October 2012.
"ASEAN-China Free Trade Area." (Online). Available: http://en.wikipedia.org/wiki/ASEAN%E2%80%93China_Free_Trade_Area Retrieved 12 October 2012.
"ความสัมพันธ์อาเซียน-จีน." หนังสือบันทึกการเดินทางอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ (สืบค้น 12 ตุลาคม 2555)
ในที่ประชุมรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศอาเซียน (AMM) จีนได้มีส่วนร่วมและถือโอกาสประกาศวิสัยทัศน์สร้างเขตเศรษฐกิจที่รวมอาเซียนกับจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นเข้าด้วยกัน เทียบกับได้กับการสร้างสหภาพยุโรปหรือยูโรโซน
ตอบลบhttp://www.chanchaivision.com/2013/07/southchinasea-dispute-update-130701.html
ขอบคุณมากครับสำหรับข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
ลบ